www.yclsakhon.com จากผลงานศึกษา
ค้นคว้า และวิจัยอย่างอิสระ เล่าเรื่องราวตั้งแต่
จุลชีวัน อารยธรรม ยันดาราศาสตร์ และต่างดาว ในคอลั่มเด็ดๆ
บทความพิเศษต้อนรับบรรยากาศวันอาสาฬหบูชาและเข้าพรรษา ผมขอเล่าเรื่อง "เมืองสารนาท" (อินเดียน่าโจนส์)
พิสูจน์วิถีสุริยะ กับปฏิทินมหาศักราชที่ปราสาทภูเพ็ก (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
ดาราศาสตร์ที่เราเห็น....ล้วนเป็นภาพลวงตา (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
รับพลัง "สุริยันจันทรา" ปีใหม่มหาศักราช ประชันดาวหางแพนสตาร์ 20 -21 มีนาคม 2556 ที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
ปฏิบัติการวันสิ้นโลก 2012 ท้าพิสูจน์สุริยะปฏิทินขอมพันปี กับปฏิทินมายา ใครจะแน่กว่ากัน (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
เข้าพรรษาปี 2555 ทำไมต้องมีเดือน 8-8 วิทยาศาสตร์มีคำตอบ (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
เสียงเตือน...บทเรียนอันเจ็บปวดของโครงการจัดการน้ำในอเมริกา จาก ฮิลล่ารี่ คลินตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศอเมริกา ฤา จะสะท้อนโครงการ "สามแสนล้าน" ของไทย
"จับประเด็นร้อน"
ยูเอฟโอ เป็นวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่นิยาย เปิดโลกวิทยาศาสตร์
ทำไมต้องเอาพระพุทธรูปไปไว้ที่ภูถ้ำพระ ในอินเดียน่า โจนส์
พบกับ แกะรอย "สุริยะเทพ" ที่ปราสาทพนมบาเค็ง ในอินเดียน่า โจนส์
หนองหารหลวงเมืองหน้าด่าน ยันกับอาณาจักรจาม (อินเดียน่า โจนส์)
ค้นศิลาจารึกอโรคยาศาล พบ "ปฏิทินปีงบประมาณ" แห่งอาณาจักรขอม (อินเดียน่า โจนส์)
วัดโลกทั้งใบ ไทย กัมพูชา (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
มุมมองใหม่ "สะพานขอม" (อินเดียน่า โจนส์)
ฝายทดน้ำชลประทาน......
ปราสาทหินพิมาย กับ สามเหลี่ยมพุทธมหายาน (อินเดียน่า โจนส์)
พบกับ "โลกล้านปีที่แอ่งสกลนคร" ในเปิดโลกวิทยาศาสตร์
เชื่อมโยงพระธาตุเชิงชุม กับ พุทธคยา เพิ่มเสน่ห์ “ธรรมทัวร์” (อินเดียน่า โจนส์)
ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ “เหมายัน” กลางคืนยาวที่สุด ยืนยันสุริยะปฏิทินพันปี “ปราสาทภูเพ็ก” วันที่ 21 – 22 ธันวาคม ของทุกปี สุริยะปฏิทินปราสาทภูเพ็กชี้ตำแหน่งดวงอาทิตย์ยามเช้า ที่มุมกวาดจากทิศเหนือ 115 องศา (Azimuth 115) ในอินเดียน่าโจนส์
ถ้ามีไม้รูปร่างตรงๆยาวประมาณ 1 เมตร........จะวัด “มุมเอียง” ของโลกได้หรือไม่?
นักเรียนมัธยมสาย “คณิต วิทย์” ทุกคนรู้ดีว่าโลกของเราโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะมุมเอียง 23.5 องศา แต่พิสูจน์ได้อย่างไรว่า จริงหรือไม่ (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
โบราณวัตถุอายุพันปีที่สกลนครถูกทอดทิ้ง และตกอยู่ในภาวะเสี่ยง….อาจสูญหาย (จับประเด็นร้อน)
ค้นหาสิ่งมีชีวิตบนดาวอังคาร (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
องค์การนาซ่าควักเงินก้อนใหญ่เพื่อให้รู้ดำรู้แดงว่ามีใครอยู่ที่นั่น
ปราสาทขอมเมืองสกล.......เอาหินมาจากไหน (อินเดียน่า โจนส์)
ไขความลับ "ปราสาทนารายณ์เจงเวง" (อินเดียน่าโจนส์)
พบกับเรื่องราวของ "หม้อหุงข้าวพลังแสงอาทิตย์....นวัตกรรมติดดิน" (ในเปิดโลกวิทยาศาสตร์)
นาฬิกาแดดต้นแบบ "มิติเวลา" ของมนุษยชาติ....ทั้งบนโลก และดาวอังคาร ! (เปิดโลกวิทยาศาสตร์)
จากปรากฏการณ์บนท้องฟ้า "ศารทวิษุวัต" 23 กันยายน 2544 ครบรอบ 10 ปี แห่งการค้นพบ "สุริยะปฏิทินพันปี" ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร (รายละเอียดใน อินเดียน่าโจนส์)
คอลั่มใหม่...."เปิดโลกวิทยาศาสตร์" ประเดิมด้วย "ปฏิบัติการอีราโตสทีเนส" วัดโลกทั้งใบ...ด้วยไม้แท่งเดียว หากเป็นไปได้น่าจะสร้างมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ร่วมกับแบบไร้พรมแดน โดยปฏิบัติการที่ปราสาทภูเพ็ก สกลนคร ประเทศไทย คู่ขนานกับ ปราสาทบายน เสียมราช ประเทศกัมพูชา ในวันที่ 21 มีนาคม 2555 ต้อนรับปรากฏการณ์ "วสันตวิษุวัต" ของปราสาททั้งคู่ที่รับแสงดวงอาทิตย์ยามเช้าตรงหน้าประตูในเวลาเดียวกัน
ถอดรหัสขอมพันปี 80 องศา....พบ "ราศีเมษ" (ติดตามใน อินเดียน่าโจนส์)
ร่วมแจมเทศกาล "หมากเม่า" พบกับบทความพิเศษ "มองหมากเม่า....ผ่านมิติดาราศาสตร์" (ในคอลั่ม อินเดียน่าโจนส์)
หลากมิติแห่งอารยธรรม 4 ยุค ที่ "บ้านท่าวัด" ริมหนองหาร สกลนคร (ในคอลั่มอินเดียน่าโจนส์)
ภัยมืดรุกชาวสกล.......สาหร่ายพิษหนองหาร (จับประเด็นร้อน)
กรมศิลปากรโยนหินถาม......"เอกสารสิทธิ์ทับเขตคูเมืองเก่า" จะออกทางไหน ? (จับประเด็นร้อน)
จับประเด็นร้อน !
น้ำท่วม "ตัวเมืองสกล" บทเรียนที่น่าจะถึงเวลาสรุปเสียที
"นกกระเตน" ทำเสียหายสวนยางเมืองสกล (รายละเอียดในจับประเด็นร้อน)
ในบรรยากาศแห่งเทศกาลเข้าพรรษา yclsakhon ขอเสนอบทความพิเศษ
พระเจ้าอโศกมหาราช ใช้ข้อมูลคณิตศาสตร์-ดาราศาสตร์ ออกแบบสื่อ "คำสอนของพุทธองค์" ในรูปแบบ "สิงห์โต 4 หน้า และพระธรรมจักร"
และนำเที่ยวชมอุทยานแห่ง "สารนาถ" อนุสรแห่งวันอาสาฬหบูชา
(รายละเอียดใน....คอลั่มอินเดียน่าโจนส์)
ปฏิทิน 5 ปี (2555 - 2559) ดวงอาทิตย์ทำมุมตรงศรีษะในวัน "วิสาขบูชา" สถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาทั่วประเทศไทย (รายละเอียดใน...อินเดียน่าโจนส์ภาคสรรค์สนธิ)
ภูเพ็ก....เม็กกะโปรเจคยุคขอมเรืองอำนาจที่ซ่อนเร้น และสาปสูญกลางป่าร่วมพันปี
จากการสำรวจของทีมงาน "พยัคฆ์ภูเพ็ก"พบว่าโบราณสถานแห่งนี้ไม่ใช่เป็นแค่ตัวปราสาท แต่ยังมีสิ่งก่อสร้างอื่นๆอีกมากมายซ่อนตัวอยู่ในป่า...รอการพิสูจน์ด้วยสายตาของเราๆท่านๆ
(อ่านต่อคลิกที่นี่)
ฤา...นโยบาย 300 บาท จะช่วยบรรเทาปัญหา “หัวดำออก หัวหงอกเลี้ยง”
นับเป็นข่าวดีที่พี่น้องแรงงานชาวสกลนครจะได้รับ ข้าแรงขั้นต่ำ 300 บาท ตามนโยบายรัฐบาลใหม่ของพรรคเพื่อไทย ในความคิดของผมน่าจะส่งผลให้ชาวสกลนครส่วนหนึ่งกลับมาทำงานในท้องถิ่น จะได้ดูแลเลี้ยงดูลูกของตนเอง ให้พร้อมหน้าพร้อมตาแบบครอบครัวอบอุ่น พ่อ แม่ ลูก เพราะปัญหาสังคมในหมู่บ้านตอนนี้ทิ้งน้ำหนักไปที่ “หัวดำออก....หัวหงอกเลี้ยง” พ่อ กับแม่ในวัยทำงานให้กำเนิดลูกออกมา แล้วทิ้งให้เป็นภาระของผู้เฒ่าในฐานะตา-ยาย (อ่านต่อคลิกๆๆ)
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
...ตลึง ! พบ “ฝายหินพันปี” กลางป่าภูเพ็ก... (อ่านต่อคลิกๆๆ)
ผ้าป่าสมทบกองทุนเพื่อการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในจังหวัดสกลนคร
โดยคณะแพทย์จุฬา รุ่น 36 รุ่น 40 และกลุ่ม young executive สกลนคร
เมื่อ วันที่ 2 เมษายน 2554 ณ วัดป่าหนองไผ่ สกลนคร
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
มาแล้ว ทำเนียบ BLD รุ่น 1
โดย ดร.ชาตรี ปรีดาอนันทสุข นครสวรรค์
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=cheevaprapha&month=05-2009&date=28&group=2&gblog=16
...........................Bcl.16............................
&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&&
เขตเมืองเก่าสกลนคร มีอะไรมากกว่าที่คิด
กว่าจะมาเป็นเมืองสกลนครในทุกวันนี้ ย่อมมีเรื่องราวมากมายที่เกิดขึ้นบนแผ่นดินผืนนี้ ผ่านยุคสมัยมายาวนานเกินกว่าที่จะมีใครจะบันทึกไว้ทัน แต่ได้มีหลักฐานพยานให้ได้สืบค้นความเป็นมาได้อย่างน่าสนใจ และต่อเนื่อง
เมืองสกลนครได้เปลี่ยนไปตามยุคสมัย จนมาถึงปัจจุบันที่เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านที่สำคัญ เพราะเป็นยุคแห่งความสับสนวุ่นวาย ยุคของความขัดแย้งในความคิด ความเชื่อ ข้อโต้แย้งเกิดขึ้นมากมาย
" พัฒนา หรือทำลาย?" ... "ฟื้นฟู หรือล้าหลัง?"..."สุขที่ใจ หรือที่เงิน"..."??.ฯลฯ.??"
แต่มีคนสกลฯกลุ่มหนึ่ง ร่วมกับนักวิชาการจากหลายมหาวิทยาลัย ให้ความสนใจเมืองสกลนครอย่างยิ่ง โดยเน้นไปที่ "เขตเมืองเก่า" เพราะมีอะไรหลายๆอย่างที่คนสกลฯอาจจะลืมไป หากสนใจเรื่องราวเป็นอย่างไรให้ไปดูการนำเสนอเรื่อง "ทรัพย์สินทางสถาปัตย์สกลนคร"ที่.........
http://www.beupload.com/download/?579138&A=522790
|
|
|
|
|
|
|
ติดตามอ่านข่าว และเรื่องราวต่างๆที่ UP DATEทุกสัปดาห์
|
|
|
คอลัมน์ฮิต...... .........แวดวงศิลปะ............ภาพเบาๆบ๊องๆใน...บ่าวคำหอม ละเบ๋อ..
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เที่ยงตรง 12.00 น. วันวิสาขะบูชา 8 พฤษภาคม 2552 ตะวันตรงศรีษะพอดีเป๊ะ ผู้คนจะไร้เงาชั่วขณะ
จากข้อมูลทางดาราศาสตร์ พบว่า วันวิสาขะบูชา 8 พฤษภาคม 2552 เวลาเที่ยงตรง 12.00 น. ดวงอาทิตย์จะโคจรไปอยู่ ที่ตำแหน่ง เส้นรุ้ง 17.1 องศาเหนือ เส้นแวง 104.1 องศาตะวันออก ซึ่งเป็นตำแหน่งของเขตเทศบาลเมืองสกลนคร ทุกท่านที่ออกไปยืนกลางแจ้งในเวลาดังกล่าวจะอยู่ในสภาพไร้เงาชั่วขณะ เพราะดวงอาทิตย์อยู่ตรงดิ่งกับศรีษะพอดี ภาษาดาราศาสตร์เรียกว่า Sun overhead at Lon E 104.1 Lat N 17 และในคืนวันเดียวกัน เวลา 11.30 น. ดวงจันทร์ พระธาตุนารายณ์เจงเวง และดาวเหนือ จะอยู่ในเส้นตรงเดียวกัน รูปสลักหินทรายซึ่งเป็นเต่า (อวตาลกอร์มะของพระวิศนุ) จะจ้องเขม็งไปที่ดาวเหนือ โดยมีดวงจันทร์เป็นฉากอยู่ด้านหลัง อยู่ในราศีตุล (Zodiac Libra) ปรากฏการณ์เช่นนี้นานๆจะเกิดขึ้นครั้งหนึ่ง เพราะวันวิสาขะบูชาใช้ปฏิทิน “จันทรคติ” ซึ่งทุกปีจะเคลื่อนไปเคลื่อนมาในปฏิทินสากลที่ใช้หลักการตามข้อมูลดาราศาสตร์ “สุริยะคติ” โดยเฉลี่ยทั้งสองปฏิทินมีจำนวนวันต่างกัน ปีละ 11 วัน โดยจันทรคติ มีจำนวนวัน 354 วัน ส่วนสุริยะคติ มีจำนวนวัน 365 วัน
|
|
อพวช.ชวนครูไทย วัดโลกทั้งใบ ด้วยไม้แท่งเดียว |
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “อีราโตสทีเนส” ที่เป็นการผสมผสานระหว่างวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ และคณิตศาสตร์ในการคำนวณหาความยาวเส้นรอบวงของโลก ด้วยไม้เพียงแท่งเดียว พร้อมกันนั้น ยังมีการสอนทำนาฬิกาแดดรูปแบบต่างๆ และจัดกิจกรรม “สำรวจฟากฟ้าค่ำคืนวันวิษุวัต” วันที่ 20-21 มีนาคม นี้ ณ พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (อพวช.) คลองห้า ปทุมธานี
อ่านต่อคลิ๊กที่นี่
|
|
|
|
|
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
"อีราโทสทีเนส" วัดเส้นรอบวงโลกด้วยไม้แท่งเดียว
วันที่ 22-23 กันยายน 2551
ณ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
|
|
|
|
|
|
|
******************************************************************************************************* |
|
13 เมษายน 2551 วันสงกรานต์ จริงหรือ ? (20-04-2551)
................................................................................................................................. |
|
ไขปริศนาปราสาทพนมรุ้ง
(20-04-2551)
.................................................................................................................................
|
|
วสันตวิษุวัต 21 มีนาคม 2551 ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก ตำนาน “ เพ็กมุสา” แห่งปราสาทภูเพ็ก ถูกรีเพลกลับมาอีกครั้งหนึ่ง
................................................................................................................................. |
|
ตำนานวันปีใหม่ มิติแห่งกาลเวลาของมนุษยชาติ
................................................................................................................................. |
|
จีวรพระสงฆ์..........มรดกสองพันปีจากพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช โดย สรรค์สนธิ บุณโยทยาน ท่านเชื่อหรือไม่ จีวรของพระสงฆ์ที่เราๆท่านๆเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน มาจากสไตล์การแต่งตัวของชาวกรีก และพระพุทธรูปองค์แรกของโลกก็เป็นศิลปะกรีกอีกเช่นกัน
.................................................................................................................................
|
|
|
|
สุริยปฏิทิน ปราสาทภูเพ็ก อำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร |
|
|
ศาสตร์โบราณในการคำนวณดาราศาสตร์ ที่ปรากฏบนแท่งหินพันปี
เหนือขึ้นไปบนยอดเขาลูกเล็กๆ ของสกลนคร ปราสาทภูเพ็กเป็นหนึ่งในหลายหลักฐาน ของเส้นทางสายปราสาทหิน ที่สร้างขึ้นสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ อวลอยู่ด้วยกลิ่นอายศิลปะขอม สุริยปฏิทินบนปราสาทคือ แท่งหินรูปจัตุรัสที่ผู้คนครั้งอดีตกาล ใช้ติดตามตำแหน่งของดวงอาทิตย์ เพื่อกำหนดช่วงเวลา ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและทำเกษตรกรรม
|
|
จังหวัดสกลนคร
นครแห่งการแสวงหา สร้างขึ้นในยุคที่ขอมมีอำนาจในดินแดนนี้ จึงมีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ซึ่งมีลักษณะการสร้างแบบขอมหลายแห่ง ในตัวเมืองมี ปราสาทพระธาตุนารายณ์เจงเวง เป็นปรางค์เดี่ยว สร้างด้วยหินทรายบนฐานศิลาแลง จำหลักลวดลายศิลปะขอม สมัยบาปวน อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๑๗ มีประเพณีบูชาพระธาตุตั้งแต่วันขึ้น ๑๑-๑๕ ค่ำ ในเดือน ๔ ของทุกปี ส่วนที่เชิงเขาภูพาน พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์ พระตำหนักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและ พระราชวงศ์ ที่โอบล้อมอยู่ด้วยพรรณไม้ประดับบานสะพรั่ง
|
|
การเดินทางไปปราสาทภูเพ็ก
จากสกลนครใช้ทางหลวงหมายเลข ๒๒ ไปประมาณ ๒๒ กม. จากนั้นแยกซ้ายเข้าบ้านนาหัวบ่ออีกประมาณ ๑๔ กม. ต้องเดินขึ้นบันได ๔๙๑ ขั้นถึงปราสาทภูเพ็ก การชมสุริยปฏิทินที่ปราสาทภูเพ็ก ควรเดินทางไปให้ตรงกับวันสำคัญที่ปรากฏ ได้แก่ ครีษมายัน วันที่มีกลางวันยาวนาน ๑๓ ชม. (วันที่ ๒๒ มิถุนายน) ศารทวิษุวัต และ วสันตวิษุวัต วันที่กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ๑๒ ชม. (วันที่ ๒๓ กันยายน และ ๒๑ มีนาคม) เหมายัน กลางคืนยาว ๑๓ ชม. (วันที่ ๒๑ ธันวาคม) |
|
|
@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@@
5 สิงหาคม 2554 12:08 น.
จับตา....ดวงอาทิตย์ตรงยอดพระธาตุเชิงชุม
ปราสาท "นารายณ์เจงเวง" ในมุมมองที่ยังไม่อยู่ในสาระบบ (อินเดียน่าโจนส์)
พบกับ "ปราสาทนารายณ์เจงเวง" ในอีกมุมมองที่ยังไม่อยู่ในสาระบบ |